วันเสาร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

อบรมเรื่องการใช้เทคโนโลยีในการบริการ (24/07/54) part2

อบรมเรื่องการใช้เทคโนโลยีในการบริการ (24/07/54) part2


 โดย อ.บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ หัวหน้างาน งานพัฒนาและบริการสื่อสาระดิจิทัล ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สำนักงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

Crosswalk Metadata+Open Technology+Digital

z39.50 แลกเปลี่ยนมาตรฐานรายการบรรณานุกรมระหว่าง ILS 
    Innopac - Innopsc - Horizon - VTLS
ความเป็นจริงในห้องเรียน โอกาศทำงานกับ ILS ยาก จึงมีการพัฒนาซอฟต์แวร์จำลองการทำงานอย่าง Mercury z39.50 clients

    ให้มองภาพว่า Mercury z39.50 clients คือ Catalogue Module ของระบบ Innopac ในห้องสมุด มช
ดังนั้นหากต้องการลงรายการบรรณานุกรมหนังสือ 

  ประเด็นน่าสนใจของ z39.50
 1. ระบบห้องสมุดที่จัดหา/จัดซื้อ พัฒนา ไม่มีโมดูล z39.50
 2. ระบบห้องสมุดที่ใช้อยุ่มีโมดูล z39.50 แต่ห้องสมุดไม่ทราบทั้งการเปิดใช้งาน และการใช้งาน
 3. ห้องสมุด/บรรณารักษ์ ไม่รู้จัก z39.50 มาก่อน
 4. หนังสือส่วนมากของห้องสมุดเป็นภาษาไทย ซึ่งระบบที่เปิดโมดูล z39.50 ของประเทศไทยมีน้อย หรือไม่เปิดระบบให้บริการ

Z39.88, OAI-PMH,Embeded Metadata 
   กับการแลกเปลี่ยนรายการทางบรรณานุกรมจากห้องสมุด/ทรัพยากรสู่ Application
   
การพัฒนาเว็บแยกมี 2 กรณีคือ 
  1. ทำมือ ... สร้างหน้า .php, .html, .htm
  2. พัฒนาด้วย s/w เช่น cms - jommla, Drupal
เว็บที่ทำต้องให้ google เก็บข้อมูลได้ ไฟล์ประกอบการทำเว็บมีกี่ไฟล์
 1 html
 3 jpg
 1 ppt
 1 pdf

ทุกไฟล์ต้องฝัง Metadata ที่จำเป็น

 1 html ฝัง Web meta Tag
  • <meta name="keyword" content="คำค้น" />
  • <meta name="authors" content="หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
  • <meta name="description" content="คำอธิบาย" />
Web Meta Tag ให้ข้อมูลกับ Search Engine 
  • <meta name="DC.title" content="คำค้น" />
  • <meta name="DC.authors" content="หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
  • <meta name="DC.description" content="คำอธิบาย" />
  • <meta name="DC.keyword" content="คำค้น" />
  • <meta name="DC.CreateDate" content="หน่วยงานผู้สร้าง" />
DC Meta Tag ให้ข้อมูลบรรณานุกรมกับ Apps เช่น Reference Manager (Endnotes.Zotero,JabRef ,Refwork..) มาตรฐาน z39.88
  • <meta name="citation_title" content="คำค้น" />
  • <meta name="citation_Author" content="หน่วยงาน" />
  • <meta name="citation_description" content="คำอธิบาย" />
  • <meta name="citation_keyword" content="คำค้น" />
  • <meta name="citation_CreateDate" content="หน่วยงานผู้สร้าง" />
  • <meta name="citation_PublishDate" content="หน่วยงาน" />
  • <meta name="citation_pdf_url" content="หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
  • <meta name="citation_journal_title" content="หน่วยงาน" />
  • <meta name="citation_volume" content="หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
  • <meta name="citation_issue" content="หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
  • <meta name="citation_firstpage" content="หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
  • <meta name="citation_lastpage" content="หน่วยงาน/ผู้สร้างสรคค์" />
Citation Meta Tag เป็นชุดใหม่เพื่อให้ข้อมูลบรรณานุกรมเชิงผลงาน การเกิดของ Citation Mete Tag เพราะปัญหาจาก OAI - PMH ที่ทำได้ยาก
 3 jpg ฝัง IPTC
 1 ppt ฝัง document Metadata
 1 pdf ฝัง PDF Metadata

**แล้วแต่ละชุด Metadata จะลงรายการอย่างไร (มาตรฐานการลงรายการ)

ขยายทุกไฟล์โดยเฉพาะ .html ให้รองรับมาตรฐาน z39.5 ผ่านz39.88

การเพิ่ม Webometric Ranking
  • size
  • Visibility
  • Scholar
ประเด็นเพิ่มเติม IR 
 1. เมื่อพัฒนา IR เรียบร้อยแล้ว จะต้องไปลงทะเบียน OAI URL ผ่าน OpenArcives.org
 2. นำผลงานของแต่ละบุคคลใน IR ไปทำ ePorfolio ด้วย researchgate.
 3. IR ที่จะพัฒนาจะอยุ่ในสถานะ Data Provider
 4. สามารถพัฒนา One search ของตนเองต่อจาก IR ได้ด้วยการติดตั้ง
ซอล์ฟแวร์พัฒนา IR 

วันศุกร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

อบรมเรื่องการใช้เทคโนโลยีในการบริการ (23/07/54)

อบรมเรื่องการใช้เทคโนโลยีในการบริการ (23/07/54)

     โดย อ.บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ หัวหน้างาน งานพัฒนาและบริการสื่อสาระดิจิทัล ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สำนักงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

Library Trend : IFLA,ALA,UNNESCO
1. Cloud computing
แบ่งออกเป็นหลายมิติดังนี้
  1. ไม่ต้องรู้ที่ตั้ง และไม่ต้องรู้ว่า server อยู่ที่ไหน
  2. เครื่องที่เป็น sever กลางไม่จำเป็นต้องมีีจุดเดียว ใช้เทคนิคการตรวจสอบช่องว่างของสัญญาน ไม่ตำเป็นต้องรู้ว่าทำงานอยู่ที่ server ไหน ทำงานอย่างไร
แบ่งแยกตามกลุ่มผู้ใช้
  • Cloud ระดับองค์กร เช่น OCLC, Cloud Library
  • Cloud ระดับบุคคล/บริการ เช่น Gmail,Facebook,Meebo
  • Cloud ผสม  ในเมืองไทย มีที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Dropbox = http://www.dropbox.com/ ซึ่ง dropbox จะทำหน้าที่ในการ transfer file จากเครื่องหนึ่ง ไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
แบ่งแยกตามการให้บริการ
  • Public Cloud
  • Private Cloud
  • Hybrid Cloud
แยกตามประเภทของเทคโนโลยี
  • SaaS - Solfware as a Service เช่น www.zoho.com หรือ docs.google.com
  • IaaS - Infrastructure as a Service 
  • PaaS -Platfrom as a Service
Mobile Device
  • จำเป็นต้องมีการสำรวจผู้ใช้ว่า ใช้ Mobile หรือไม่
  • พยายามรู้ก่อนว่าผู้ใช้นั้นใช้ Mobile ประเภทอะไร
  • รู้จักผู้ใช้และพฤติกรรมจาก truehits.net
  • Smart Phone : Java,Debian 
  • Tablet : Android
  • eReader : ios  เช่น ipad ฯลฯ
  • Netbook : windows พวกคอมพิวเตอร์ทั่วไป 
Digital content & Publishing eBook, IR, Digital Library OJS
       http://ag-ebook.lib.ku.ac.th/
      เน้นอยู่ 3 ส่วนด้วยกันคือ
  1. การได้มาของเนื้อหา
  2. กระบวนการผลิต และรูปแบบ
  3. ลิขสิทธิ์ ต้นฉบับและลิขสิทธิ๋์ของ eBook การเผยแพร่
รูปแบบ eBook
  • .doc .pdf 
  • Flip eBook
  • Flash Flip eBook
  • ePuplishing
  • .ePub นามสกุลหรือ format ของเอกสารที่สร้างขึ้นมาใหม่
  • Digital Multimedia Book 
 Crosswalk Metadata
   การนำเอา Metadata มาผสมกันหลายๆอัน ซึ่งจำเป้นต้องรู้จัก Matadata มากกว่า 1 ชุด เช่น
  • MARC
  • MARCML จะไม่ใช่สัญลักษณ์เป็นตัวขั้น จะเว้นระหว่างคำไว้แทน
  • Dublin core
  • ISAD (g) ระบบการทำจดหมายเหตุ ดิจิทัล
  • CDWA สำหรับทำในด้านของ พิพิธภัณฑ์
  • RDF  สำหรับคนที่จัดการอยู่ในระบบ KM
  • OWL สำหรับคนที่จัดการอยู่ในระบบ KM
  • MODS  ใช้ในการทำ digital library
  • METS ใช้ในการทำ digital library
  • PDF Metadata
  • DOC Metadata
  • EXIF ใช้เป็นมาตรฐานรูปถ่าย digital
  • XMP ใช้เป็นมาตรฐานรูปถ่าย digital
  • IPTC ใช้เป็นมาตรฐานรูปถ่าย digital
Open technology
 
z39.5
      มาตรฐานในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางบรรณานุกรมหนังสือผ่าน ILS 
z39.88
      มีประเด็นใหญ่ๆ คือ
            1. ช่วยแลกเปลี่ยนข้อมูลทางบรรณานุกรมหนังสือระหว่าง ILS กับ Apps หรือหนังสือ ทรัพยากรใดๆก็ตาม
            2. การเ้พิ่มลำดับเว็บ/จัดลำดับเว็บ webometric ทำอย่างไรก้ได้ให้ web การบริการขององค์กร เป็นแบบ z39.88  (เป็น Photocal รูปแบบใหม่) ทั้งหมด

OAI - PMH
  • จัดทำ  one search จะต้องค้นเจอในครั้งเดียว หรือ web เดียว http://vijai.net/ (one search)
  • ในมิติของห้องสมุดนั้นทำให้เกิด one search โดยไม่คำนึงถึงการทำงานว่าทำอย่างไร
  • จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อต้องมีระบบใหม่เข้ามา
  • การทำงานจะต้องมีระบบ ILS 1 ตัว และสามารถให้ฐานข้อมูลบรรณานุกรมได้ 
ฐานข้อมูลนักวิจัย มช.
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ มช.
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ ม.แม่โจ้
**ทำอย่างไรให้มีระบบสืบค้นได้จากทุกฐานข้างต้น

Linked Data
    Semantic web/web 3.0
    ตัวอย่าง web search engine ที่เป็น Semantic = = >  http://www.wolframalpha.com/
    ตัวอย่างของ thesaurus http://164.115.5.61/thesaurus/ 

Data & Information Mining/ Visualization
     http://tnrr.in.th/beta/   (ระบบคลังข้อมูลงานวิจัยไทย)
     เข้าลิงค์ล่างสุด
     http://www.thairesearch.in.th/tnrr/
     ตัวอย่างเว็บ Online database http://www.boliven.com/ มีลักษณะคล้ายกับเว็บที่ให้บริการในห้องสมุด
  •  นับจากวันนี้ไประบบการค้นฐานข้อมูลจะต้องไปจบที่คำค้นอย่างเดียว จะต้องเจอรายละเอียดในด้านอื่นๆมากกว่านั้น
Visual search engine
http://vadl.cc.gatech.edu/  เว็บของห้องสมุด ดิจิทัล
http://labs.ideeinc.com/visual/#   เว็บ เกี่ยวกับการให้สีภาพ
http://www.krazydad.com/colrpickr/  เว็บ เกี่ยวกับการให้สีภาพ
http://labs.ideeinc.com/multicolr/  เว็บ เกี่ยวกับการให้สีภาพ

Green Library
    เกิดมาจากกระแส Global worming  แบ่งออกเป็นสองกลุ่ม คือ
       1. Green Builging
               มิติของการสร้างโครงสร้างให้มีสีเขียวเพิ่มมากขึ้น ในด้านของสิ่งแวดล้อมต่างๆ
       2. Green ICT จะคู่กับ Cloud
              

        วันอาทิตย์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

        E-book & Priracy

        สรุป E-book & Priracy (18/07/54)

        E-book & Priracy

        ข้อด้อยของ E-book
        • ต้องมีเครื่องอ่าน 
        • อ่านได้เฉพาะเครื่องอ่าน
        • ต้องใช้พลังงานไฟฟ้า
        • หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์บางเล่ม ไม่สามารถอ่านกับเครื่องอ่านรุ่นใหม่ๆได้
        Type of electronic book
        1. the first type of electronic books is based on traditional paper format,and change into eletronic
        2. the second type of electronic books has been digitisd in a CD format
        Optical Charactor Recognition 
           คือ การแปลงไฟล์ภาพเอกสาร ให้เป็นไฟล์ข้อความโดยอัตโนมัติ ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์งาน

        ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้โปรแกรม OCR
        • ประหยัดพื้นที่จัดเก็บข้อมูล เนื่องจากไฟล์ข้อความมีขนาดเล็กกว่าไฟล์ภาพมาก
        • สะดวกในการปรับแต่งและแก้ไขเอกสาร เนื่องจากไฟล์ข้อความสามารถปรับแต่งและแก้ไขได้ง่ายกว่าไฟล์ภาพ
        ข้อดีสำหรับห้องสมุด
        1.  ผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้จำนวนมากครั้งภายในครั้งเดียว
        2. สามารถจัดการรูปแบบของความร่วมมือในการจัดซื้อ ประหยัดงบประมาณ และสามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ในปริมาณที่มากขึ้น
        3. สามารถสนองความต้องการที่มีความต้องการของข้อมูลได้ทันที
        4. การจัดเก็บสามาถจัดเก็บได้สะดวกขึ้น เนื่องจากสามารถทำสำเนาได้ และไม่ต้องซ้ำซ้อน 
        Technical and managment problem
        • ขั้นตอนการจัดทรัพยากรในรูปแบบใหม่ develop acquistion and circulation moded
        • บุคลากรต้องได้รับการฝึกฝนใหม่ Development model
        • การจัดบริการเป็นเรื่องใหม่
        • ดูแลเกี่ยวกับการเข้าถึง และการบริการที่ต้องทำการตกลงกับผู้ใช้บริการ
        • การดูแลเกี่ยวกับสิทธิของผู้ใช้

        วันเสาร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

        The evolotion of book

        สรุป The evolotion of book (10/07/54)

        The evolotion of book

        E-book Format
              เนื่องจากมีการใช้ข้อมูลในการอ่านที่หลากลหายชนิดในการอ่าน จึงทำให้ E-book formats ถูกจัดเก็บไว้หลายรูปแบบ ซึ่งหนังสือส่วนใหญ่จะถูกพิมพ์ออกมาอยู่ในหลายรูปแบบ ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้เ้ข้าถึงได้หลากหลายรูปแบบมากขึ้น

        EPUB
              
              รูปแบบการจัดเก็บข้อมูล (format) ที่ใช้จัดเก็บหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีหลายรูปแบบที่คุ้นเคยกัน ที่เป็นที่นิยม ก็คงจะเป็น .pdf ของค่าย Adobe หรือ .chm ของระบบ HTML ซึ่ง รูปแบบเนื้อหาของ pdf นั้น เป็นการจัดว่างอย่างคงที่ (non-reflow able) ไม่สามารถปรับให้เข้าและพอดีกับขนาดของจอแสดงผล บางส่วนอาจจะล้น เลย เกินออกไปได้ แต่ .pfb เวอชั่นใหม่ๆมีการพัฒนาให้มีความสามารถในการกำหนดให้เนื้อหาเอกสารเป็นแบบ reflow able ได้ ส่วน .chm นั้น จะจำกัดการแสดงผลเพียงแค่บนอุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการตระกูลไมโครซอฟต์ หรือต้องติดตั้งโปรแกรมเสริมสำหรับเปิดอ่านเท่านั้น แต่ปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้ใช้ รูปแบบที่เรียกว่า EPub 
               EPub format มีชื่อจริงว่า Electronic Publication ซึ่งเป็นมาตรฐาน e-Book แบบเปิด รูปแบบของหนังสือนั่นจะไม่คงที่ (reflow able) ซึ่งเป็นแฟ้มบีบอัดคล้าย .zip พัฒนาโดย The International Digital Publishing Forum (IDPF) ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 อย่างผสมผสานกัน ได้แก่ Open Publication Structure (OPS), Open Packaging Format (OPF) และ Open Container Format (OCF) มาตรฐานของ e-Book ชุดนี้ช่วยให้เราสามารถแปลงเอกสาร Word, PDF, HTML และ Text File เป็นฟอร์แมตที่สามารถนำเสนอผ่าน Reader ทั้งที่เป็น Application และ Reader อื่นๆ ได้หลากหลาย เช่น Sony Reader เนื้อหาที่พัฒนาด้วยมาตรฐาน ePub อยู่ในฟอร์แมต XML ที่มีส่วนขยายเป็น .epub และควบคุมการนำเสนอผลด้วย CSS

        ลักษณะเด่นของ EPub format คือ
        • เป็นระบบเปิด (Open)
        • มีอิสระ (Free) ในการจัดการสิ่งต่างๆ
        • เนื้อหาตัวอักษรสามารถตัดคำ (Word Wrap) และสามารถปรับขนาดตัวอักษรได้
        • สามารถนำภาพทั้งแบบ Bitmap และ Vector ผสมไปกับเนื้อหาได้
        • รองรับ DRM - Digital Right Management
        • รองรับการฝั่ง Metadate
        รายการอ้างอิง
          availble:http://y29.wikidot.com/epub-format-e-book visited: 10/07/54 13.04

        คุณสมบัติ E-Book Reader
        • ค้นภายในเนื้อหา (inside search,keyword searching)
        • บันทึกข้อความ (note-taking)
        • คัดลอกและวาง (copying and pasting)
        • บรรณานุกรม (dictionary capabilities)
        • เน้นข้อความและเพิ่มเติมข้อความ 
        • ปรับขยายตำแหน่ง
        • อ่านออกเสียงได้
        • เชื่อมโยง (hyper link)
        • ต่ออินเทอร์เน็ต (internet)
        • ดีต่อสิ่งแวดล้อม
        รูปแบบการสร้างสื่อสิ่งพิมพ์
        1. การเรียบเรียง creation
        2. ปรับปรุง Editing
        3. เตรียมพิมพ์ Pre-pres
        4. จัดพิมพ์ Printing
        5. การนำออก Distribution
        6. ขาย sale ส่ง Delivery
        7. ผู้ซื้อ Consumtion

        วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

        ภารกิจในการจัดทำเอกสาร OA

        สรุปเรื่อง ภารกิจในการจัดทำเอกสาร OA (06/07/54)

        ภารกิจในการจัดทำเอกสาร OA

               มหาวิทยาลัยต่างๆทั่วโลกได้มีการออกภารกิจการจัดทำเอกสาร OA ขึ้นรวมทั้งหมด 146 แห่ง เป็น หน่วยงาน รัฐบาลจำนวน 30 หน่วยงาน องค์กรผู้ให้ทุนอื่นๆ 46 แห่ง และองค์กรการวิจัย 75 แห่ง รวมทั้งสิ้น 276 แห่ง

        ภารกิจในการจัดทำเอกสาร OA ของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มีดังนี้
        1. เจ้าของผลงานสามารถอัฟโหลดไฟล์ในคลังจัดเก็บเอกสารในสถาบันนั้นๆได้
        2. ทางมหาวิทบาลัยมีการประเมินคุณภาพของบทความ
        3. สำหรับการทำบทความ หรือผลงานทางวิชาการเป็นวารสารออนไลน์ บทความอาจจะไม่สามารถเผยแพร่ได้ในทันที แต่จะได้รับการเผยแพร่บทความ ในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 12 เดือน
        4. ผลงานต้นฉบับที่เจ้าของทำการเผยแพร่ก่อนหน้าที่จะมีการตีพิมพ์ลงในวารสารจะไม่สามารถทำการแก้ไขใดๆได้อีก
         ภารกิจในการทำเอกสาร OA ของมหาวิทยาลัย เซาท์แทมตัน มีรายละเอียดดังนี้
        • เอกสารที่เป็นผลงานวิจัยระดับสูง ที่จัดทำขึ้นโดยผู้เชียวชาญ นักศึกษาปริญญาโท จะต้องนำไปเก็บในคลังจัดเก็บเอกสารในประเทศออสเตรเลีย

        Gold OA : OA Journal

        สรุปเรื่อง Gold OA : OA Journal (06/07/54)

        Gold OA : OA Journal 

        Gold OA : OA Journal วารสาร หรือ บทความ ที่เผยแพร่บทความ บนเว็บไซต์สาธารณะทั่วไป ที่ให้บริการในรูปแบบออนไลน์ โดยตัวผู้แต่งเองจะเป็นผู้ดำเนินการ และมีการดำเนินการจัดการเอง

        ลักษณะของ OA Journal

            1. เป็นวารสารบทความทางวิชาการ
            2. มีคุณภาพ ลักษณะเหมือนวารสารทั่วไป เช่น editorial oversight and copy editing เป็นต้น
            3. เป็นบทความดิจิทอล ( digital )
            4. ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการเข้าถึง และใช้บริการ
            5. ผู้แต่งยังคงมีสิทธิ์ในตัวบทความนั้นอยู่
            6. ผู้แต่งสามารถใช้ CC หรือ licenses อื่น ๆ ได้ 

        OA Journal publishers - types

           1. Born OA Publishers 
        • วารสารที่ไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่มาก่อน
           2. Conventional Publishers  
        •   วารสารเชิงพาณิชย์
           3. Non-Traditional Publishers 
        • วารสารที่จัดทำขึ้นโดยไม่หวังผลกำไร

        วันพุธที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2554

        Implementing open access

        สรุป Implementing open access (29/06/54)

        Implementing open access
         
        l     OA Self-archiving ('green' OA)
        -          ตีพิมพ์ในวารสารของสำนักพิมพ์ทั่วไป แต่ผู้เขียนมีสิทธิ์นำบทความมาจัดเก็บไว้ใน author's homepage หรือ institutional repository เพื่อนำไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตต่อได้ 
            Open Access Publishing 
                หรือเรียกว่าเป็นถนนสีทอง (Gold) ที่นำสู่ OA หมายถึงวารสารที่ เปิดให้เข้าถึงบทความในเล่มอย่างอิสระทันทีที่ส่งตีพิมพ์ ตัวอย่าง เช่น Public Library of Science PLoS เป็นการเปลี่ยนแปลงจากการจัดพิมพ์สิ่งพิมพ์ วิชาการรูปแบบเดิมจาก การพิมพ์กระดาษ สู่ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 
           Open Access Self – Archiving 
              หรือเรียกว่าเป็นถนนสีเขียว (Green) หมายถึงบริการที่ นำเข้าถึงวารสาร OA ที่ผู้แต่งบทความทำสำเนาบทความของตนเองให้เข้าถึงได้อย่างอิสระ หรือเรียกกันว่า คลังความรู้องค์กร (Subject / Institutional Repository ซึ่งเกิดในราวปี ค. ศ. 1994